รอปรับปรุง ใหม่
file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:รอปรับปรุง ใหม่
../add_file/รอปรับปรุง ใหม่
รอปรับปรุง
file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:รอปรับปรุง
../add_file/รอปรับปรุง
รอปรับปรุง
file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:รอปรับปรุง
../add_file/รอปรับปรุง
คำถาม :
ตอบ :
คำถาม :
ตอบ :
คำถาม :
ตอบ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:
../add_file/
สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
../add_file/สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
../add_file/ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
การพัฒนาระบบของเรา
file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:การพัฒนาระบบของเรา
../add_file/การพัฒนาระบบของเรา
ประเภทสถานที่ท่องเที่ยง : ธรรมชาติและสัตว์ป่า
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
หมายเลขติดต่อสอบถาม : 045210810-1
รายละเอียด : แหล่งน้ำหนองพุงมัน เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่
การเดินทาง : เดินทางจากอำเภอทุ่งศรีอุดม มุ่งหน้าไปทางทิศใต้
(ถนนเดช-น้ำยืน)
ระยะทาง 2 กิโลเมตร
ประเภทสถานที่ท่องเที่ยง : ธรรมชาติและสัตว์ป่า
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
หมายเลขติดต่อสอบถาม : 045210810-1
รายละเอียด : แหล่งน้ำหนองพุงมัน เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่
การเดินทาง : เดินทางจากอำเภอทุ่งศรีอุดม มุ่งหน้าไปทางทิศใต้
(ถนนเดช-น้ำยืน)
ระยะทาง 2 กิโลเมตร
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:
ประเภทสถานที่ท่องเที่ยง : ธรรมชาติและสัตว์ป่า
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
หมายเลขติดต่อสอบถาม : 045210810-1
รายละเอียด : แหล่งน้ำหนองพุงมัน เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่
การเดินทาง : เดินทางจากอำเภอทุ่งศรีอุดม มุ่งหน้าไปทางทิศใต้
(ถนนเดช-น้ำยืน)
ระยะทาง 2 กิโลเมตร
../add_file/
ประเภทสถานที่ท่องเที่ยง : ธรรมชาติและสัตว์ป่า
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
หมายเลขติดต่อสอบถาม : 045210810-1
รายละเอียด : แหล่งน้ำหนองพุงมัน เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่
การเดินทาง : เดินทางจากอำเภอทุ่งศรีอุดม มุ่งหน้าไปทางทิศใต้
(ถนนเดช-น้ำยืน)
ระยะทาง 2 กิโลเมตร
ประวัติ
ตำบลกุดเรือ เป็นสภาตำบลที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 โดยมี นายสรวง โคตรสาลี ดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยมี นายประเวช เจโคกกรวด ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ ปัจจุบัน นายสำลี พามาเนตร ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ และนายชาริน จินดาศรี ดำรงตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือเป็นคนแรก จนถึงปัจจุบัน
ตำบลกุดเรือ เป็นสภาตำบลที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 โดยมี นายสรวง โคตรสาลี ดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยมี นายประเวช เจโคกกรวด ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ ปัจจุบัน นายสำลี พามาเนตร ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ และนายชาริน จินดาศรี ดำรงตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือเป็นคนแรก จนถึงปัจจุบัน
ประวัติ
ตำบลกุดเรือ เป็นสภาตำบลที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 โดยมี นายสรวง โคตรสาลี ดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยมี นายประเวช เจโคกกรวด ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ ปัจจุบัน นายสำลี พามาเนตร ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ และนายชาริน จินดาศรี ดำรงตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือเป็นคนแรก จนถึงปัจจุบัน
ประวัติ
ตำบลกุดเรือ เป็นสภาตำบลที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 โดยมี นายสรวง โคตรสาลี ดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยมี นายประเวช เจโคกกรวด ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ ปัจจุบัน นายสำลี พามาเนตร ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ และนายชาริน จินดาศรี ดำรงตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือเป็นคนแรก จนถึงปัจจุบัน
วิสัยทัศน์/พันธกิจ ขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
วิสัยทัศน์ (Vision)
การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
“ชุมชนเข้มแข็ง
การศึกษาก้าวหน้า
การเกษตรกรรมดี
บ้านเมืองน่าอยู่อาศัย
ประเพณีวัฒนธรรมเลื่องลือ
ก้าวสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์”
1. พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคให้เป็นเมืองน่าอยู่
2. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และผลผลิตด้านเกษตรกรรมให้ประชาชนมีความรู้ รายได้ และการครองชีพอย่างพอเพียงและเหมาะสม
3. พัฒนาคุณภาพชีวิต สังคม การศึกษาและรักษาไว้ซึ่งศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม
4. พัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองของประชาชน
เนื้อที่
มีเนื้อที่ทั้งหมด 56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 35,000 ไร่ สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม สลับที่ดอน มีแหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่ ห้วยลำซอม ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักไหลผ่านทางทิศใต้ของตำบลกุดเรือ และมีลำน้ำห้วยต่างๆ ลำหวยซำงู นอกจากนี้ยังมีหนองน้ำและอ่างเก็บน้ำ หนองพุงมัน หมู่ 1-2, หนองผือ ม.7, หนองหินกอง ม.9 และหนองกะหวัน ม.3
อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลนาเกษม อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลขี้เหล็ก อำเภอน้ำขุ่น จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลแก้ง อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลกุดเสลา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
จำนวนประชากรของตำบล
มีครัวเรือนจำนวนทั้งสิ้น 1,662 ครัวเรือน มีประชากรจำนวนทั้งสิ้น 6,320 คน เป็นชาย จำนวน 3,225 คน เป็นหญิง จำนวน 3,095 คน
ข้อมูลอาชีพของตำบล
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ผลผลิต ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ปอ พืชสวน ซึ่งสามารถส่งออกเป็นรายได้หลักของตำบล โดยมีพ่อค้า คนกลางรับซื้อในหมู่บ้านและบางส่วนนำไปขายยังตลาดในอำเภอทุ่งศรีอุดม นอกจากนั้นยังมีประชากรที่ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม ได้แก่ รับจ้าง ค้าขาย และบริการ แรงงานรับจ้างส่วนใหญ่เป็นการรับจ้างแรงงานในกรุงเทพ เขตปริมณฑล และจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรม อาทิเช่น ชลบุรี ระยอง จะทำงานด้านการก่อสร้าง/ลูกจ้าง ฯลฯ เป็นส่วนใหญ่
หน่วยธุรกิจในองค์การบริหารส่วนตำบล
1. โรงสีขนาดเล็ก จำนวน 11 แห่ง
2. ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก (ปั๊มหลอด) จำนวน 10 แห่ง
3. ฟาร์มไก่เนื้อ จำนวน 1 แห่ง
4. ร้านค้า จำนวน 33 แห่ง
5. ร้านซ่อมเครื่องยนต์ จำนวน 2 แห่ง
6. สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง
7. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
8. ร้านค้าเคมีเกษตร จำนวน 2 แห่ง
9. ร้านรับซื้อพืชผลทางการเกษตร จำนวน 4 แห่ง
การศึกษา
มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านกุดเรือ หมู่ 1
2) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า
3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซำงู
4) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเกษตร
มีโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
3) โรงเรียนบ้านทุ่งช้าง
4) โรงเรียนบ้านกุดไก่แก้ว
มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (เป็นโรงเรียนขยายโอกาสถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3) จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัด 10 แห่ง วัดที่ได้รับวิสุงคามสีมา จำนวน 9 แห่ง วัดที่ยังไม่ได้รับวิสุงคามสีมาและที่พักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง
สาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งช้าง ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ตำบลกุดเรือ
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกุดเรือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
การคมนาคม
การคมนาคมระหว่างตำบลกุดเรือกับบริเวณใกล้เคียงนั้น สามารถเดินทางติดต่อกันได้สะดวกพอสมควร โดยใช้เส้นทางรถยนต์เป็นหลัก โดยเฉพาะทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2214 ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญที่ใช้ติดต่อกับอำเภอต่างๆ แหล่งน้ำต่างๆ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
ห้วยลำธาร จำนวน 2 แห่ง หนองบึง จำนวน 15 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ฝาย, ผนังกั้นน้ำ จำนวน 1 แห่ง บ่อบาดาล, บ่อเจาะ จำนวน 19 แห่ง บ่อน้ำตื้น จำนวน 69 แห่ง ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 หมู่ อ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
บึงน้ำสาธารณะ จำนวน 1 แห่ง
มวลชนจัดตั้ง
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 3 รุ่น จำนวน 143 คน
ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
พนักงานส่วนตำบล ประกอบไปด้วย
ตำแหน่งในสำนักงานปลัด 6 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองคลัง 2 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองช่าง 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในหน่วยตรวจสอบภายใน 1 ตำแหน่ง
พนักงานจ้างตามภารกิจ
สำนักงานปลัด
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยบุคลากร 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จพง.พัฒนาชุมชน 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.บันทึกข้อมูล 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ป้องกันฯ 1 ตำแหน่ง
กองคลัง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตำแหน่ง
กองช่าง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างโยธา 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างเขียนแบบ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ
วิสัยทัศน์/พันธกิจ ขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
วิสัยทัศน์ (Vision)
การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
“ชุมชนเข้มแข็ง
การศึกษาก้าวหน้า
การเกษตรกรรมดี
บ้านเมืองน่าอยู่อาศัย
ประเพณีวัฒนธรรมเลื่องลือ
ก้าวสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์”
1. พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคให้เป็นเมืองน่าอยู่
2. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และผลผลิตด้านเกษตรกรรมให้ประชาชนมีความรู้ รายได้ และการครองชีพอย่างพอเพียงและเหมาะสม
3. พัฒนาคุณภาพชีวิต สังคม การศึกษาและรักษาไว้ซึ่งศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม
4. พัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองของประชาชน
เนื้อที่
มีเนื้อที่ทั้งหมด 56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 35,000 ไร่ สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม สลับที่ดอน มีแหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่ ห้วยลำซอม ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักไหลผ่านทางทิศใต้ของตำบลกุดเรือ และมีลำน้ำห้วยต่างๆ ลำหวยซำงู นอกจากนี้ยังมีหนองน้ำและอ่างเก็บน้ำ หนองพุงมัน หมู่ 1-2, หนองผือ ม.7, หนองหินกอง ม.9 และหนองกะหวัน ม.3
อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลนาเกษม อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลขี้เหล็ก อำเภอน้ำขุ่น จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลแก้ง อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลกุดเสลา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
จำนวนประชากรของตำบล
มีครัวเรือนจำนวนทั้งสิ้น 1,662 ครัวเรือน มีประชากรจำนวนทั้งสิ้น 6,320 คน เป็นชาย จำนวน 3,225 คน เป็นหญิง จำนวน 3,095 คน
ข้อมูลอาชีพของตำบล
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ผลผลิต ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ปอ พืชสวน ซึ่งสามารถส่งออกเป็นรายได้หลักของตำบล โดยมีพ่อค้า คนกลางรับซื้อในหมู่บ้านและบางส่วนนำไปขายยังตลาดในอำเภอทุ่งศรีอุดม นอกจากนั้นยังมีประชากรที่ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม ได้แก่ รับจ้าง ค้าขาย และบริการ แรงงานรับจ้างส่วนใหญ่เป็นการรับจ้างแรงงานในกรุงเทพ เขตปริมณฑล และจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรม อาทิเช่น ชลบุรี ระยอง จะทำงานด้านการก่อสร้าง/ลูกจ้าง ฯลฯ เป็นส่วนใหญ่
หน่วยธุรกิจในองค์การบริหารส่วนตำบล
1. โรงสีขนาดเล็ก จำนวน 11 แห่ง
2. ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก (ปั๊มหลอด) จำนวน 10 แห่ง
3. ฟาร์มไก่เนื้อ จำนวน 1 แห่ง
4. ร้านค้า จำนวน 33 แห่ง
5. ร้านซ่อมเครื่องยนต์ จำนวน 2 แห่ง
6. สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง
7. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
8. ร้านค้าเคมีเกษตร จำนวน 2 แห่ง
9. ร้านรับซื้อพืชผลทางการเกษตร จำนวน 4 แห่ง
การศึกษา
มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านกุดเรือ หมู่ 1
2) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า
3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซำงู
4) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเกษตร
มีโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
3) โรงเรียนบ้านทุ่งช้าง
4) โรงเรียนบ้านกุดไก่แก้ว
มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (เป็นโรงเรียนขยายโอกาสถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3) จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัด 10 แห่ง วัดที่ได้รับวิสุงคามสีมา จำนวน 9 แห่ง วัดที่ยังไม่ได้รับวิสุงคามสีมาและที่พักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง
สาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งช้าง ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ตำบลกุดเรือ
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกุดเรือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
การคมนาคม
การคมนาคมระหว่างตำบลกุดเรือกับบริเวณใกล้เคียงนั้น สามารถเดินทางติดต่อกันได้สะดวกพอสมควร โดยใช้เส้นทางรถยนต์เป็นหลัก โดยเฉพาะทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2214 ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญที่ใช้ติดต่อกับอำเภอต่างๆ แหล่งน้ำต่างๆ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
ห้วยลำธาร จำนวน 2 แห่ง หนองบึง จำนวน 15 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ฝาย, ผนังกั้นน้ำ จำนวน 1 แห่ง บ่อบาดาล, บ่อเจาะ จำนวน 19 แห่ง บ่อน้ำตื้น จำนวน 69 แห่ง ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 หมู่ อ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
บึงน้ำสาธารณะ จำนวน 1 แห่ง
มวลชนจัดตั้ง
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 3 รุ่น จำนวน 143 คน
ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
พนักงานส่วนตำบล ประกอบไปด้วย
ตำแหน่งในสำนักงานปลัด 6 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองคลัง 2 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองช่าง 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในหน่วยตรวจสอบภายใน 1 ตำแหน่ง
พนักงานจ้างตามภารกิจ
สำนักงานปลัด
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยบุคลากร 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จพง.พัฒนาชุมชน 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.บันทึกข้อมูล 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ป้องกันฯ 1 ตำแหน่ง
กองคลัง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตำแหน่ง
กองช่าง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างโยธา 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างเขียนแบบ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:วิสัยทัศน์/พันธกิจ ขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
วิสัยทัศน์ (Vision)
การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
“ชุมชนเข้มแข็ง
การศึกษาก้าวหน้า
การเกษตรกรรมดี
บ้านเมืองน่าอยู่อาศัย
ประเพณีวัฒนธรรมเลื่องลือ
ก้าวสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์”
1. พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคให้เป็นเมืองน่าอยู่
2. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และผลผลิตด้านเกษตรกรรมให้ประชาชนมีความรู้ รายได้ และการครองชีพอย่างพอเพียงและเหมาะสม
3. พัฒนาคุณภาพชีวิต สังคม การศึกษาและรักษาไว้ซึ่งศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม
4. พัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองของประชาชน
เนื้อที่
มีเนื้อที่ทั้งหมด 56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 35,000 ไร่ สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม สลับที่ดอน มีแหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่ ห้วยลำซอม ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักไหลผ่านทางทิศใต้ของตำบลกุดเรือ และมีลำน้ำห้วยต่างๆ ลำหวยซำงู นอกจากนี้ยังมีหนองน้ำและอ่างเก็บน้ำ หนองพุงมัน หมู่ 1-2, หนองผือ ม.7, หนองหินกอง ม.9 และหนองกะหวัน ม.3
อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลนาเกษม อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลขี้เหล็ก อำเภอน้ำขุ่น จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลแก้ง อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลกุดเสลา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
จำนวนประชากรของตำบล
มีครัวเรือนจำนวนทั้งสิ้น 1,662 ครัวเรือน มีประชากรจำนวนทั้งสิ้น 6,320 คน เป็นชาย จำนวน 3,225 คน เป็นหญิง จำนวน 3,095 คน
ข้อมูลอาชีพของตำบล
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ผลผลิต ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ปอ พืชสวน ซึ่งสามารถส่งออกเป็นรายได้หลักของตำบล โดยมีพ่อค้า คนกลางรับซื้อในหมู่บ้านและบางส่วนนำไปขายยังตลาดในอำเภอทุ่งศรีอุดม นอกจากนั้นยังมีประชากรที่ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม ได้แก่ รับจ้าง ค้าขาย และบริการ แรงงานรับจ้างส่วนใหญ่เป็นการรับจ้างแรงงานในกรุงเทพ เขตปริมณฑล และจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรม อาทิเช่น ชลบุรี ระยอง จะทำงานด้านการก่อสร้าง/ลูกจ้าง ฯลฯ เป็นส่วนใหญ่
หน่วยธุรกิจในองค์การบริหารส่วนตำบล
1. โรงสีขนาดเล็ก จำนวน 11 แห่ง
2. ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก (ปั๊มหลอด) จำนวน 10 แห่ง
3. ฟาร์มไก่เนื้อ จำนวน 1 แห่ง
4. ร้านค้า จำนวน 33 แห่ง
5. ร้านซ่อมเครื่องยนต์ จำนวน 2 แห่ง
6. สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง
7. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
8. ร้านค้าเคมีเกษตร จำนวน 2 แห่ง
9. ร้านรับซื้อพืชผลทางการเกษตร จำนวน 4 แห่ง
การศึกษา
มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านกุดเรือ หมู่ 1
2) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า
3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซำงู
4) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเกษตร
มีโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
3) โรงเรียนบ้านทุ่งช้าง
4) โรงเรียนบ้านกุดไก่แก้ว
มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (เป็นโรงเรียนขยายโอกาสถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3) จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัด 10 แห่ง วัดที่ได้รับวิสุงคามสีมา จำนวน 9 แห่ง วัดที่ยังไม่ได้รับวิสุงคามสีมาและที่พักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง
สาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งช้าง ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ตำบลกุดเรือ
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกุดเรือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
การคมนาคม
การคมนาคมระหว่างตำบลกุดเรือกับบริเวณใกล้เคียงนั้น สามารถเดินทางติดต่อกันได้สะดวกพอสมควร โดยใช้เส้นทางรถยนต์เป็นหลัก โดยเฉพาะทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2214 ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญที่ใช้ติดต่อกับอำเภอต่างๆ แหล่งน้ำต่างๆ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
ห้วยลำธาร จำนวน 2 แห่ง หนองบึง จำนวน 15 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ฝาย, ผนังกั้นน้ำ จำนวน 1 แห่ง บ่อบาดาล, บ่อเจาะ จำนวน 19 แห่ง บ่อน้ำตื้น จำนวน 69 แห่ง ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 หมู่ อ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
บึงน้ำสาธารณะ จำนวน 1 แห่ง
มวลชนจัดตั้ง
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 3 รุ่น จำนวน 143 คน
ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
พนักงานส่วนตำบล ประกอบไปด้วย
ตำแหน่งในสำนักงานปลัด 6 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองคลัง 2 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองช่าง 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในหน่วยตรวจสอบภายใน 1 ตำแหน่ง
พนักงานจ้างตามภารกิจ
สำนักงานปลัด
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยบุคลากร 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จพง.พัฒนาชุมชน 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.บันทึกข้อมูล 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ป้องกันฯ 1 ตำแหน่ง
กองคลัง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตำแหน่ง
กองช่าง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างโยธา 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างเขียนแบบ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ
../add_file/วิสัยทัศน์/พันธกิจ ขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
วิสัยทัศน์ (Vision)
การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
“ชุมชนเข้มแข็ง
การศึกษาก้าวหน้า
การเกษตรกรรมดี
บ้านเมืองน่าอยู่อาศัย
ประเพณีวัฒนธรรมเลื่องลือ
ก้าวสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์”
1. พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคให้เป็นเมืองน่าอยู่
2. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และผลผลิตด้านเกษตรกรรมให้ประชาชนมีความรู้ รายได้ และการครองชีพอย่างพอเพียงและเหมาะสม
3. พัฒนาคุณภาพชีวิต สังคม การศึกษาและรักษาไว้ซึ่งศาสนา วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม
4. พัฒนา อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองของประชาชน
เนื้อที่
มีเนื้อที่ทั้งหมด 56 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 35,000 ไร่ สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม สลับที่ดอน มีแหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่ ห้วยลำซอม ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักไหลผ่านทางทิศใต้ของตำบลกุดเรือ และมีลำน้ำห้วยต่างๆ ลำหวยซำงู นอกจากนี้ยังมีหนองน้ำและอ่างเก็บน้ำ หนองพุงมัน หมู่ 1-2, หนองผือ ม.7, หนองหินกอง ม.9 และหนองกะหวัน ม.3
อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลนาเกษม อำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลขี้เหล็ก อำเภอน้ำขุ่น จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลแก้ง อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลกุดเสลา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
จำนวนประชากรของตำบล
มีครัวเรือนจำนวนทั้งสิ้น 1,662 ครัวเรือน มีประชากรจำนวนทั้งสิ้น 6,320 คน เป็นชาย จำนวน 3,225 คน เป็นหญิง จำนวน 3,095 คน
ข้อมูลอาชีพของตำบล
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ผลผลิต ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ปอ พืชสวน ซึ่งสามารถส่งออกเป็นรายได้หลักของตำบล โดยมีพ่อค้า คนกลางรับซื้อในหมู่บ้านและบางส่วนนำไปขายยังตลาดในอำเภอทุ่งศรีอุดม นอกจากนั้นยังมีประชากรที่ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม ได้แก่ รับจ้าง ค้าขาย และบริการ แรงงานรับจ้างส่วนใหญ่เป็นการรับจ้างแรงงานในกรุงเทพ เขตปริมณฑล และจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรม อาทิเช่น ชลบุรี ระยอง จะทำงานด้านการก่อสร้าง/ลูกจ้าง ฯลฯ เป็นส่วนใหญ่
หน่วยธุรกิจในองค์การบริหารส่วนตำบล
1. โรงสีขนาดเล็ก จำนวน 11 แห่ง
2. ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก (ปั๊มหลอด) จำนวน 10 แห่ง
3. ฟาร์มไก่เนื้อ จำนวน 1 แห่ง
4. ร้านค้า จำนวน 33 แห่ง
5. ร้านซ่อมเครื่องยนต์ จำนวน 2 แห่ง
6. สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง
7. ร้านเสริมสวย จำนวน 1 แห่ง
8. ร้านค้าเคมีเกษตร จำนวน 2 แห่ง
9. ร้านรับซื้อพืชผลทางการเกษตร จำนวน 4 แห่ง
การศึกษา
มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านกุดเรือ หมู่ 1
2) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า
3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านซำงู
4) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเกษตร
มีโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
3) โรงเรียนบ้านทุ่งช้าง
4) โรงเรียนบ้านกุดไก่แก้ว
มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (เป็นโรงเรียนขยายโอกาสถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3) จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1) โรงเรียนบ้านกุดเรือ
2) โรงเรียนบ้านซำงู
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัด 10 แห่ง วัดที่ได้รับวิสุงคามสีมา จำนวน 9 แห่ง วัดที่ยังไม่ได้รับวิสุงคามสีมาและที่พักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง
สาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง ดังนี้
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งช้าง ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ตำบลกุดเรือ
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกุดเรือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลกุดเรือ
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
การคมนาคม
การคมนาคมระหว่างตำบลกุดเรือกับบริเวณใกล้เคียงนั้น สามารถเดินทางติดต่อกันได้สะดวกพอสมควร โดยใช้เส้นทางรถยนต์เป็นหลัก โดยเฉพาะทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2214 ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญที่ใช้ติดต่อกับอำเภอต่างๆ แหล่งน้ำต่างๆ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
ห้วยลำธาร จำนวน 2 แห่ง หนองบึง จำนวน 15 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ฝาย, ผนังกั้นน้ำ จำนวน 1 แห่ง บ่อบาดาล, บ่อเจาะ จำนวน 19 แห่ง บ่อน้ำตื้น จำนวน 69 แห่ง ประปาหมู่บ้าน จำนวน 10 หมู่ อ่างเก็บน้ำ จำนวน 1 แห่ง
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
บึงน้ำสาธารณะ จำนวน 1 แห่ง
มวลชนจัดตั้ง
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 3 รุ่น จำนวน 143 คน
ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลกุดเรือ
พนักงานส่วนตำบล ประกอบไปด้วย
ตำแหน่งในสำนักงานปลัด 6 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองคลัง 2 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในกองช่าง 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5 ตำแหน่ง
ตำแหน่งในหน่วยตรวจสอบภายใน 1 ตำแหน่ง
พนักงานจ้างตามภารกิจ
สำนักงานปลัด
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ฯ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยบุคลากร 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จพง.พัฒนาชุมชน 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.บันทึกข้อมูล 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ป้องกันฯ 1 ตำแหน่ง
กองคลัง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตำแหน่ง
กองช่าง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างโยธา 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยช่างเขียนแบบ 1 ตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วย จนท.ธุรการ
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2560
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2561
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2562
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2561
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2562
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2560
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2561
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2562
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2560
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2561
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2562
สำนักปลัด อบต. – ข้อมูลสำหรับประชาชน
สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับเอกสาร สารการจัดทำแผนพัฒนาสามปี การจัดทำร่างข้อบัญญัติ การจัดทำทะเบียนสมาชิกสภา อบต. และคณะผู้บริหาร การดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การให้คำปรึกษาหน้าที่และความรับผิดชอบการปกครองบังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง การบริหารงานบุคคลของ อบต. ทั้งหมด การดำเนินการเกี่ยวกับการอนุญาตต่าง ๆ และการปฏิบัติงานด้านสวัสดิการสังคม เกี่ยวกับการสังคมเคราะห์ การส่งเสริมการเกษตร การอนุรักษ์แหล่งน้ำ และป่าไม้ การให้คำปรึกษาแนะนำและตรวจสอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการสังคมและ ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายใน ออกเป็น 5 งาน คือ
งานบริหารทั่วไป มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสารบรรณ
- งานบริหารงานบุคคล
- งานเลือกตั้งและทะเบียนข้อมูล
- งานตรวจสอบภายใน
งานนโยบายและแผน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานนโยบายและแผน
- งานวิชาการ
- งานข้อมูลและการประชาสัมพันธ์
- งานงบประมาณ
งานกฎหมายและคดี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานกฎหมายและคดี
- งานร้องเรียนร้องทุกข์และอุทธรณ์
- งานข้อบัญญัติและระเบียบ
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศกิจ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานอำนวยการ
- งานป้องกัน
- งานฟื้นฟู
งานกิจการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานระเบียบข้อบังคับประชุม
- งานการประชุม
- งานอำนวยการและประสานงาน
- งานติดตามผลการปฏิบัติงานตามมติ
สำนักปลัด – คู่มือ อบต.
สำนักงานปลัด
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ และราชการที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกองหรือ ส่วนราชการใดในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ โดยเฉพาะรวมทั้งกำกับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ ให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนปฏิบัติราชการองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ การบริหารงานบุคคล งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ (งานนิติกร) การจัดเตรียมการเลือกตั้งการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจนงานบริการสืบค้นข้อมูลข่าวสารอื่นๆ
ขั้นตอนติดต่อราชการ
ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
ขั้นตอนให้บริการ
1.ผู้ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
- ยื่นคำร้องตามแบบ (คำร้องทั่วไป) ต่อเจ้าหน้าที่
- กรณีร้องทางโทรศัพท์เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องกรอกข้อมูลตามแบบ (แบบรับคำร้องทางโทรศัพท์)
2. ส่วนงาน/หัวหน้างานที่รับผิดชอบตรวจสอบข้อเท็จจริงตามคำร้องและดำเนินการแก้ไขปัญหาตามอำนาจหน้าที่/ตามกฎหมาย
3. แจ้งผู้ร้องทุกข์
การขอข้อมูลข่าวสารตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้ขอยื่นคำขอตามแบบ (คำร้องขอสำเนาข้อมูลข่าวสาร) ต่อเจ้าหน้าที่
2. เจ้าหน้าที่ยื่นคำขอต่อผู้บังคับบัญชา
- อนุญาต (จัดเตรียมเอกสารให้ตามคำขอ)
- ไม่อนุญาต (แจ้งผู้ทราบพร้อมเหตุผล)
เอกสารประกอบการพิจารณา
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้ที่จะขอข้อมูล
สำนักปลัด อบต. – ข้อมูลสำหรับประชาชน
สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับเอกสาร สารการจัดทำแผนพัฒนาสามปี การจัดทำร่างข้อบัญญัติ การจัดทำทะเบียนสมาชิกสภา อบต. และคณะผู้บริหาร การดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การให้คำปรึกษาหน้าที่และความรับผิดชอบการปกครองบังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง การบริหารงานบุคคลของ อบต. ทั้งหมด การดำเนินการเกี่ยวกับการอนุญาตต่าง ๆ และการปฏิบัติงานด้านสวัสดิการสังคม เกี่ยวกับการสังคมเคราะห์ การส่งเสริมการเกษตร การอนุรักษ์แหล่งน้ำ และป่าไม้ การให้คำปรึกษาแนะนำและตรวจสอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการสังคมและ ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายใน ออกเป็น 5 งาน คือ
งานบริหารทั่วไป มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสารบรรณ
- งานบริหารงานบุคคล
- งานเลือกตั้งและทะเบียนข้อมูล
- งานตรวจสอบภายใน
งานนโยบายและแผน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานนโยบายและแผน
- งานวิชาการ
- งานข้อมูลและการประชาสัมพันธ์
- งานงบประมาณ
งานกฎหมายและคดี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานกฎหมายและคดี
- งานร้องเรียนร้องทุกข์และอุทธรณ์
- งานข้อบัญญัติและระเบียบ
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศกิจ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานอำนวยการ
- งานป้องกัน
- งานฟื้นฟู
งานกิจการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานระเบียบข้อบังคับประชุม
- งานการประชุม
- งานอำนวยการและประสานงาน
- งานติดตามผลการปฏิบัติงานตามมติ
สำนักปลัด – คู่มือ อบต.
สำนักงานปลัด
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ และราชการที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกองหรือ ส่วนราชการใดในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ โดยเฉพาะรวมทั้งกำกับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ ให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนปฏิบัติราชการองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ การบริหารงานบุคคล งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ (งานนิติกร) การจัดเตรียมการเลือกตั้งการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจนงานบริการสืบค้นข้อมูลข่าวสารอื่นๆ
ขั้นตอนติดต่อราชการ
ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
ขั้นตอนให้บริการ
1.ผู้ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
- ยื่นคำร้องตามแบบ (คำร้องทั่วไป) ต่อเจ้าหน้าที่
- กรณีร้องทางโทรศัพท์เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องกรอกข้อมูลตามแบบ (แบบรับคำร้องทางโทรศัพท์)
2. ส่วนงาน/หัวหน้างานที่รับผิดชอบตรวจสอบข้อเท็จจริงตามคำร้องและดำเนินการแก้ไขปัญหาตามอำนาจหน้าที่/ตามกฎหมาย
3. แจ้งผู้ร้องทุกข์
การขอข้อมูลข่าวสารตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้ขอยื่นคำขอตามแบบ (คำร้องขอสำเนาข้อมูลข่าวสาร) ต่อเจ้าหน้าที่
2. เจ้าหน้าที่ยื่นคำขอต่อผู้บังคับบัญชา
- อนุญาต (จัดเตรียมเอกสารให้ตามคำขอ)
- ไม่อนุญาต (แจ้งผู้ทราบพร้อมเหตุผล)
เอกสารประกอบการพิจารณา
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้ที่จะขอข้อมูล
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:
สำนักปลัด อบต. – ข้อมูลสำหรับประชาชน
สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับเอกสาร สารการจัดทำแผนพัฒนาสามปี การจัดทำร่างข้อบัญญัติ การจัดทำทะเบียนสมาชิกสภา อบต. และคณะผู้บริหาร การดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การให้คำปรึกษาหน้าที่และความรับผิดชอบการปกครองบังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง การบริหารงานบุคคลของ อบต. ทั้งหมด การดำเนินการเกี่ยวกับการอนุญาตต่าง ๆ และการปฏิบัติงานด้านสวัสดิการสังคม เกี่ยวกับการสังคมเคราะห์ การส่งเสริมการเกษตร การอนุรักษ์แหล่งน้ำ และป่าไม้ การให้คำปรึกษาแนะนำและตรวจสอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการสังคมและ ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายใน ออกเป็น 5 งาน คือ
งานบริหารทั่วไป มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสารบรรณ
- งานบริหารงานบุคคล
- งานเลือกตั้งและทะเบียนข้อมูล
- งานตรวจสอบภายใน
งานนโยบายและแผน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานนโยบายและแผน
- งานวิชาการ
- งานข้อมูลและการประชาสัมพันธ์
- งานงบประมาณ
งานกฎหมายและคดี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานกฎหมายและคดี
- งานร้องเรียนร้องทุกข์และอุทธรณ์
- งานข้อบัญญัติและระเบียบ
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศกิจ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานอำนวยการ
- งานป้องกัน
- งานฟื้นฟู
งานกิจการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานระเบียบข้อบังคับประชุม
- งานการประชุม
- งานอำนวยการและประสานงาน
- งานติดตามผลการปฏิบัติงานตามมติ
สำนักปลัด – คู่มือ อบต.
สำนักงานปลัด
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ และราชการที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกองหรือ ส่วนราชการใดในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ โดยเฉพาะรวมทั้งกำกับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ ให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนปฏิบัติราชการองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ การบริหารงานบุคคล งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ (งานนิติกร) การจัดเตรียมการเลือกตั้งการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจนงานบริการสืบค้นข้อมูลข่าวสารอื่นๆ
ขั้นตอนติดต่อราชการ
ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
ขั้นตอนให้บริการ
1.ผู้ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
- ยื่นคำร้องตามแบบ (คำร้องทั่วไป) ต่อเจ้าหน้าที่
- กรณีร้องทางโทรศัพท์เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องกรอกข้อมูลตามแบบ (แบบรับคำร้องทางโทรศัพท์)
2. ส่วนงาน/หัวหน้างานที่รับผิดชอบตรวจสอบข้อเท็จจริงตามคำร้องและดำเนินการแก้ไขปัญหาตามอำนาจหน้าที่/ตามกฎหมาย
3. แจ้งผู้ร้องทุกข์
การขอข้อมูลข่าวสารตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้ขอยื่นคำขอตามแบบ (คำร้องขอสำเนาข้อมูลข่าวสาร) ต่อเจ้าหน้าที่
2. เจ้าหน้าที่ยื่นคำขอต่อผู้บังคับบัญชา
- อนุญาต (จัดเตรียมเอกสารให้ตามคำขอ)
- ไม่อนุญาต (แจ้งผู้ทราบพร้อมเหตุผล)
เอกสารประกอบการพิจารณา
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้ที่จะขอข้อมูล
../add_file/
สำนักปลัด อบต. – ข้อมูลสำหรับประชาชน
สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับเอกสาร สารการจัดทำแผนพัฒนาสามปี การจัดทำร่างข้อบัญญัติ การจัดทำทะเบียนสมาชิกสภา อบต. และคณะผู้บริหาร การดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การให้คำปรึกษาหน้าที่และความรับผิดชอบการปกครองบังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง การบริหารงานบุคคลของ อบต. ทั้งหมด การดำเนินการเกี่ยวกับการอนุญาตต่าง ๆ และการปฏิบัติงานด้านสวัสดิการสังคม เกี่ยวกับการสังคมเคราะห์ การส่งเสริมการเกษตร การอนุรักษ์แหล่งน้ำ และป่าไม้ การให้คำปรึกษาแนะนำและตรวจสอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการสังคมและ ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายใน ออกเป็น 5 งาน คือ
งานบริหารทั่วไป มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสารบรรณ
- งานบริหารงานบุคคล
- งานเลือกตั้งและทะเบียนข้อมูล
- งานตรวจสอบภายใน
งานนโยบายและแผน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานนโยบายและแผน
- งานวิชาการ
- งานข้อมูลและการประชาสัมพันธ์
- งานงบประมาณ
งานกฎหมายและคดี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานกฎหมายและคดี
- งานร้องเรียนร้องทุกข์และอุทธรณ์
- งานข้อบัญญัติและระเบียบ
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศกิจ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานอำนวยการ
- งานป้องกัน
- งานฟื้นฟู
งานกิจการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานระเบียบข้อบังคับประชุม
- งานการประชุม
- งานอำนวยการและประสานงาน
- งานติดตามผลการปฏิบัติงานตามมติ
สำนักปลัด – คู่มือ อบต.
สำนักงานปลัด
มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ และราชการที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของกองหรือ ส่วนราชการใดในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ โดยเฉพาะรวมทั้งกำกับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ ให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนปฏิบัติราชการองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงสามสิบ การบริหารงานบุคคล งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ (งานนิติกร) การจัดเตรียมการเลือกตั้งการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจนงานบริการสืบค้นข้อมูลข่าวสารอื่นๆ
ขั้นตอนติดต่อราชการ
ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
ขั้นตอนให้บริการ
1.ผู้ร้องทุกข์ / ร้องเรียน
- ยื่นคำร้องตามแบบ (คำร้องทั่วไป) ต่อเจ้าหน้าที่
- กรณีร้องทางโทรศัพท์เจ้าหน้าที่ผู้รับคำร้องกรอกข้อมูลตามแบบ (แบบรับคำร้องทางโทรศัพท์)
2. ส่วนงาน/หัวหน้างานที่รับผิดชอบตรวจสอบข้อเท็จจริงตามคำร้องและดำเนินการแก้ไขปัญหาตามอำนาจหน้าที่/ตามกฎหมาย
3. แจ้งผู้ร้องทุกข์
การขอข้อมูลข่าวสารตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้ขอยื่นคำขอตามแบบ (คำร้องขอสำเนาข้อมูลข่าวสาร) ต่อเจ้าหน้าที่
2. เจ้าหน้าที่ยื่นคำขอต่อผู้บังคับบัญชา
- อนุญาต (จัดเตรียมเอกสารให้ตามคำขอ)
- ไม่อนุญาต (แจ้งผู้ทราบพร้อมเหตุผล)
เอกสารประกอบการพิจารณา
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้ที่จะขอข้อมูล
ส่วนการคลัง – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนการคลัง มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและทะเบียนรับ – จ่ายเงินงบประเภท งานเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงินการ เก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน การฝากเงิน การตรวจเงิน อบต. รวบรวมสถิติ เงินได้ประเภทต่าง ๆ การเบิกตัดปี การขยายเวลาเบิก จ่ายงบประมาณ การหักภาษี และนำส่ง รายการเงินคงเหลือประจำ การรับและจ่ายขาดเงินสะสมของ อบต. การยืมเงินทดรอง ราชการ การจัดหาผลประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สิน ตรวจสอบงานของจังหวัดและสำนักงานตรวจ เงินแผ่นดิน การเร่งรัดใบสำคัญและใบเงินยืมค้างชำระ การจัดเก็บภาษี การประเมินภาษี การเร่งรัดจัดเก็บรายได้ การพัฒนารายได้ การออกใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง และที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
งานการเงิน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานรับเงิน
- เบิกจ่ายเงิน
- งานจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงิน
- งานเก็บรักษาเงิน
งานบัญชี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานการบัญชี
- งานทะเบียนคุมการเบิกจ่าย
- งานงบการเงินและงบทดลอง
- งานงบแสดงฐานะทางการเงิน
งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและค่าเช่า
- งานพัฒนารายได้
- งานควบคุมกิจการค้าและค่าปรับ
- งานทะเบียนเบิกควบคุมและเร่งรัดรายได้
งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานทะเบียนทรัพย์สินและแผนที่ภาษี
- งานพัสดุ
- งานทะเบียนเบิกจ่ายวัสดุครุภัณฑ์และยานพาหนะ
ส่วนการคลัง - คู่มือ อบต.
ส่วนการคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจ่าย การรับ การนำส่งเงิน การเก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสำคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบำเหน็จ เงินบำนาญ เงินอื่นๆ งานเกี่ยวกับการจัดทำงบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่างๆ การจัดทำบัญชีทุกประเภททะเบียนคุมรายได้ และรายจ่ายต่างๆ การควบคุมการ งานทำงบทดลองประจำเดือน ประจำปี งานเกี่ยวกับการพัสดุของอบต.ม่วงสามสิบ งานสถิติการคลังงานพัฒนารายได้ งานผลประโยชน์และกิจการพาณิชย์ งานแผนที่ภาษี และทะเบียนทรัพย์สิน
กำหนดการยื่นแบบชำระภาษี
1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
2. ภาษีป้าย ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี
3. ภาษีบำรุงท้องที่ (ภาษีที่ดิน) ระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี
การยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินยื่นแบบแสดงรายการ เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มี่หน้าที่เสียภาษีโรงเรือน และที่ดินชำระเงิน และรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินปีที่ผ่านมา (ภ.ร.ด.12)
3. สำเนาสัญญาเช่าต่างๆ (ในกรณีการเช่า , ให้เช่าบ้าน , เช่าที่ดิน)
4. สำเนาทะเบียนพาณิชย์ (กรณีประกอบการค้า) สำเนาการจดทะเบียนนิติบุคคล
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีป้าย
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) พร้อมเอกสารประกอบ
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงิน (ภ.ป.7)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีป้ายปีที่ผ่านมา (ภ.ป.7)
3. เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับป้าย
4. ขนาดของป้าย
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีบำรุงท้องที่
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้เป็นเจ้าของที่ดินยื่นแบบ แสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงท้องที่ (ภ.บ.ท.11)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงที่ดินที่ผ่านมา (ภ.บ.ท.11)
3. สำเนาทะเบียนบ้าน
4. สำเนาโฉนดที่ดิน
ส่วนการคลัง – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนการคลัง มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและทะเบียนรับ – จ่ายเงินงบประเภท งานเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงินการ เก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน การฝากเงิน การตรวจเงิน อบต. รวบรวมสถิติ เงินได้ประเภทต่าง ๆ การเบิกตัดปี การขยายเวลาเบิก จ่ายงบประมาณ การหักภาษี และนำส่ง รายการเงินคงเหลือประจำ การรับและจ่ายขาดเงินสะสมของ อบต. การยืมเงินทดรอง ราชการ การจัดหาผลประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สิน ตรวจสอบงานของจังหวัดและสำนักงานตรวจ เงินแผ่นดิน การเร่งรัดใบสำคัญและใบเงินยืมค้างชำระ การจัดเก็บภาษี การประเมินภาษี การเร่งรัดจัดเก็บรายได้ การพัฒนารายได้ การออกใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง และที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
งานการเงิน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานรับเงิน
- เบิกจ่ายเงิน
- งานจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงิน
- งานเก็บรักษาเงิน
งานบัญชี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานการบัญชี
- งานทะเบียนคุมการเบิกจ่าย
- งานงบการเงินและงบทดลอง
- งานงบแสดงฐานะทางการเงิน
งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและค่าเช่า
- งานพัฒนารายได้
- งานควบคุมกิจการค้าและค่าปรับ
- งานทะเบียนเบิกควบคุมและเร่งรัดรายได้
งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานทะเบียนทรัพย์สินและแผนที่ภาษี
- งานพัสดุ
- งานทะเบียนเบิกจ่ายวัสดุครุภัณฑ์และยานพาหนะ
ส่วนการคลัง - คู่มือ อบต.
ส่วนการคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจ่าย การรับ การนำส่งเงิน การเก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสำคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบำเหน็จ เงินบำนาญ เงินอื่นๆ งานเกี่ยวกับการจัดทำงบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่างๆ การจัดทำบัญชีทุกประเภททะเบียนคุมรายได้ และรายจ่ายต่างๆ การควบคุมการ งานทำงบทดลองประจำเดือน ประจำปี งานเกี่ยวกับการพัสดุของอบต.ม่วงสามสิบ งานสถิติการคลังงานพัฒนารายได้ งานผลประโยชน์และกิจการพาณิชย์ งานแผนที่ภาษี และทะเบียนทรัพย์สิน
กำหนดการยื่นแบบชำระภาษี
1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
2. ภาษีป้าย ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี
3. ภาษีบำรุงท้องที่ (ภาษีที่ดิน) ระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี
การยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินยื่นแบบแสดงรายการ เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มี่หน้าที่เสียภาษีโรงเรือน และที่ดินชำระเงิน และรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินปีที่ผ่านมา (ภ.ร.ด.12)
3. สำเนาสัญญาเช่าต่างๆ (ในกรณีการเช่า , ให้เช่าบ้าน , เช่าที่ดิน)
4. สำเนาทะเบียนพาณิชย์ (กรณีประกอบการค้า) สำเนาการจดทะเบียนนิติบุคคล
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีป้าย
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) พร้อมเอกสารประกอบ
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงิน (ภ.ป.7)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีป้ายปีที่ผ่านมา (ภ.ป.7)
3. เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับป้าย
4. ขนาดของป้าย
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีบำรุงท้องที่
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้เป็นเจ้าของที่ดินยื่นแบบ แสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงท้องที่ (ภ.บ.ท.11)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงที่ดินที่ผ่านมา (ภ.บ.ท.11)
3. สำเนาทะเบียนบ้าน
4. สำเนาโฉนดที่ดิน
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:
ส่วนการคลัง – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนการคลัง มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและทะเบียนรับ – จ่ายเงินงบประเภท งานเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงินการ เก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน การฝากเงิน การตรวจเงิน อบต. รวบรวมสถิติ เงินได้ประเภทต่าง ๆ การเบิกตัดปี การขยายเวลาเบิก จ่ายงบประมาณ การหักภาษี และนำส่ง รายการเงินคงเหลือประจำ การรับและจ่ายขาดเงินสะสมของ อบต. การยืมเงินทดรอง ราชการ การจัดหาผลประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สิน ตรวจสอบงานของจังหวัดและสำนักงานตรวจ เงินแผ่นดิน การเร่งรัดใบสำคัญและใบเงินยืมค้างชำระ การจัดเก็บภาษี การประเมินภาษี การเร่งรัดจัดเก็บรายได้ การพัฒนารายได้ การออกใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง และที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
งานการเงิน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานรับเงิน
- เบิกจ่ายเงิน
- งานจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงิน
- งานเก็บรักษาเงิน
งานบัญชี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานการบัญชี
- งานทะเบียนคุมการเบิกจ่าย
- งานงบการเงินและงบทดลอง
- งานงบแสดงฐานะทางการเงิน
งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและค่าเช่า
- งานพัฒนารายได้
- งานควบคุมกิจการค้าและค่าปรับ
- งานทะเบียนเบิกควบคุมและเร่งรัดรายได้
งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานทะเบียนทรัพย์สินและแผนที่ภาษี
- งานพัสดุ
- งานทะเบียนเบิกจ่ายวัสดุครุภัณฑ์และยานพาหนะ
ส่วนการคลัง - คู่มือ อบต.
ส่วนการคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจ่าย การรับ การนำส่งเงิน การเก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสำคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบำเหน็จ เงินบำนาญ เงินอื่นๆ งานเกี่ยวกับการจัดทำงบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่างๆ การจัดทำบัญชีทุกประเภททะเบียนคุมรายได้ และรายจ่ายต่างๆ การควบคุมการ งานทำงบทดลองประจำเดือน ประจำปี งานเกี่ยวกับการพัสดุของอบต.ม่วงสามสิบ งานสถิติการคลังงานพัฒนารายได้ งานผลประโยชน์และกิจการพาณิชย์ งานแผนที่ภาษี และทะเบียนทรัพย์สิน
กำหนดการยื่นแบบชำระภาษี
1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
2. ภาษีป้าย ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี
3. ภาษีบำรุงท้องที่ (ภาษีที่ดิน) ระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี
การยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินยื่นแบบแสดงรายการ เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มี่หน้าที่เสียภาษีโรงเรือน และที่ดินชำระเงิน และรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินปีที่ผ่านมา (ภ.ร.ด.12)
3. สำเนาสัญญาเช่าต่างๆ (ในกรณีการเช่า , ให้เช่าบ้าน , เช่าที่ดิน)
4. สำเนาทะเบียนพาณิชย์ (กรณีประกอบการค้า) สำเนาการจดทะเบียนนิติบุคคล
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีป้าย
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) พร้อมเอกสารประกอบ
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงิน (ภ.ป.7)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีป้ายปีที่ผ่านมา (ภ.ป.7)
3. เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับป้าย
4. ขนาดของป้าย
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีบำรุงท้องที่
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้เป็นเจ้าของที่ดินยื่นแบบ แสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงท้องที่ (ภ.บ.ท.11)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงที่ดินที่ผ่านมา (ภ.บ.ท.11)
3. สำเนาทะเบียนบ้าน
4. สำเนาโฉนดที่ดิน
../add_file/
ส่วนการคลัง – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนการคลัง มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและทะเบียนรับ – จ่ายเงินงบประเภท งานเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงินการ เก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน การฝากเงิน การตรวจเงิน อบต. รวบรวมสถิติ เงินได้ประเภทต่าง ๆ การเบิกตัดปี การขยายเวลาเบิก จ่ายงบประมาณ การหักภาษี และนำส่ง รายการเงินคงเหลือประจำ การรับและจ่ายขาดเงินสะสมของ อบต. การยืมเงินทดรอง ราชการ การจัดหาผลประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สิน ตรวจสอบงานของจังหวัดและสำนักงานตรวจ เงินแผ่นดิน การเร่งรัดใบสำคัญและใบเงินยืมค้างชำระ การจัดเก็บภาษี การประเมินภาษี การเร่งรัดจัดเก็บรายได้ การพัฒนารายได้ การออกใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง และที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
งานการเงิน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานรับเงิน
- เบิกจ่ายเงิน
- งานจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงิน
- งานเก็บรักษาเงิน
งานบัญชี มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานการบัญชี
- งานทะเบียนคุมการเบิกจ่าย
- งานงบการเงินและงบทดลอง
- งานงบแสดงฐานะทางการเงิน
งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและค่าเช่า
- งานพัฒนารายได้
- งานควบคุมกิจการค้าและค่าปรับ
- งานทะเบียนเบิกควบคุมและเร่งรัดรายได้
งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานทะเบียนทรัพย์สินและแผนที่ภาษี
- งานพัสดุ
- งานทะเบียนเบิกจ่ายวัสดุครุภัณฑ์และยานพาหนะ
ส่วนการคลัง - คู่มือ อบต.
ส่วนการคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจ่าย การรับ การนำส่งเงิน การเก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสำคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบำเหน็จ เงินบำนาญ เงินอื่นๆ งานเกี่ยวกับการจัดทำงบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่างๆ การจัดทำบัญชีทุกประเภททะเบียนคุมรายได้ และรายจ่ายต่างๆ การควบคุมการ งานทำงบทดลองประจำเดือน ประจำปี งานเกี่ยวกับการพัสดุของอบต.ม่วงสามสิบ งานสถิติการคลังงานพัฒนารายได้ งานผลประโยชน์และกิจการพาณิชย์ งานแผนที่ภาษี และทะเบียนทรัพย์สิน
กำหนดการยื่นแบบชำระภาษี
1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
2. ภาษีป้าย ยื่นแบบระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี
3. ภาษีบำรุงท้องที่ (ภาษีที่ดิน) ระหว่าง เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี
การยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินยื่นแบบแสดงรายการ เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มี่หน้าที่เสียภาษีโรงเรือน และที่ดินชำระเงิน และรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.12)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินปีที่ผ่านมา (ภ.ร.ด.12)
3. สำเนาสัญญาเช่าต่างๆ (ในกรณีการเช่า , ให้เช่าบ้าน , เช่าที่ดิน)
4. สำเนาทะเบียนพาณิชย์ (กรณีประกอบการค้า) สำเนาการจดทะเบียนนิติบุคคล
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีป้าย
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) พร้อมเอกสารประกอบ
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงิน (ภ.ป.7)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีป้ายปีที่ผ่านมา (ภ.ป.7)
3. เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับป้าย
4. ขนาดของป้าย
5. สำเนาทะเบียนบ้าน
6. สำเนาโฉนดที่ดิน
การยื่นแบบภาษีบำรุงท้องที่
รวมระยะเวลาการให้บริการ (ขึ้นอยู่กับเอกสารที่เตรียมมา) 5 นาที
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้เป็นเจ้าของที่ดินยื่นแบบ แสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5)
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร
3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ชำระเงินและรับใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงท้องที่ (ภ.บ.ท.11)
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. บัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประชาชน
2. ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีบำรุงที่ดินที่ผ่านมา (ภ.บ.ท.11)
3. สำเนาทะเบียนบ้าน
4. สำเนาโฉนดที่ดิน
ส่วนโยธา – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนโยธา มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการสำรวจออกแบบและจัดทำโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานของ อบต. เช่น งานอาคาร ถนน สะพาน ท่อระบายน้ำ และงานชลประทาน ตลอดจน งานบำรุงรักษา ซ่อมแซม และจัดทำทะเบียนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและการออกแบบก่อสร้างแก่ อบต. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยงข้อง งานควบคุมอาคาร การดูแลควบคุมปรึกษาซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
งานก่อสร้าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานควบคุมการก่อสร้าง สะพาน อาคาร และงานชลประทาน
- งานก่อสร้างและบูรณะถนน
- งานก่อสร้างและบูรณะสภาพและโครงการพิเศษ
- งานระบบข้อมูลและแผนที่เส้นทางคมนาคม
- งานบำรุงรักษาเครื่องจักรและยานพาหนะ
งานออกแบบและควบคุมอาคาร มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสำรวจออกแบบ
- งานสถาปัตยกรรมและมัณฑศิลป์
- งานวิศวกรรม
- งานประเมินราคา
- งานควบคุมการก่อสร้างอาคาร บริการข้อมูลและหลักเกณฑ์
- งานออกแบบ และเขียนแบบ
- งานควบคุมการก่อสร้างอาคารตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
- งานตรวจตราสถานประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง ตาม พ.ร.บ. ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2542
งานประสานและสาธารณูปโภค มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานซ่อมบำรุงไฟฟ้าสาธารณะ
- งานประสานและสาธารณูปโภคและกิจการประปา
- งานขนส่งและวิศวกรรมจราจร
- งานระบายน้ำ
- งานจัดตกแต่งสถานที่
งานผังเมือง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสำรวจรวบรวมข้อมูลด้านผังเมือง
- งานสำรวจและแผนที่
- งานวางผังพัฒนาเมือง
ส่วนโยธา - คู่มือ อบต.
ส่วนโยธา มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการสำรวจออกแบบและจัดทำโครงการใช้จ่ายเงินของ อบต. การอนุมัติเพื่อดำเนินการตาม โครงการที่ตั้งจ่ายจากเงินรายได้ของ อบต. งานบำรุงรักษา ซ่อมแซม และจัดทำทะเบียนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและการออกแบบก่อสร้างแก่ อบต. และหน่วงงานอื่นที่เกี่ยงข้อง งานควบคุมอาคาร การดูแลควบคุมปรึกษาซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและงานที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
ส่วนโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจออกแบบ การจัดทำข้อมูลทางด้านวิศวกรรม การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและ เขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้างและซ่อมบำรุง งานแผนงานด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกล รวบรวมประวัติติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงาน เครื่องจักรกล การควบคุมบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงานควบคุมเก็บรักษาการเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ำมันเชื้อเพลิง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย
การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ตามแบบคำขอ อนุญาตก่อสร้างอาคาร รื้อถอน ดัดแปลง (แบบ ข.1) พร้อมเอกสาร
2. นายตรวจ ตรวจสอบเอกสารเบื้องต้น / ตรวจสอบผังเมือง และตรวจสอบสภาพสาธารณะ
3. นายช่าง / วิศวกรตรวจพิจารณาแบบ
4. เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณา คำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขออนุญาต
2. สำเนาโฉนดที่ดินขนาดเท่าต้นฉบับทุกหน้า พร้อมเจ้าของที่ดินลงนามรับรองสำเนาทุกหน้า
(กรณีผู้ขอไม่ใช่เจ้าของต้องมีหนังสือยินยอมของเจ้าของที่ดินให้ก่อสร้าง อาคารในที่ดินหรือสำเนาสัญญาเช่าที่ดิน)
3. หนังสือยินยอมชิดเขตที่ดินต่างเจ้าของ
4. หนังสือรับรองของผู้ประกอบการวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของผู้ออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคาร
5. หนังสือรับรองของผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมของผู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรม
6. แผนผังบริเวณแบบแปลนและรายการประกอบแบบแปลน พร้อมรายการคำนวณโครงสร้าง
7. รายการคำนวณระบบบำบัดน้ำเสีย (กรณีอาคารต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย)
การประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2
เอกสารประกอบการแจ้ง
การแจ้งการประกอบกิจการ ให้แจ้งพร้อมเอกสาร หลักฐานต่างๆตามแบบ ธพ.น.1 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โดยแจ้งสำนักงานส่วนท้องถิ่นดังนี้
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้แจ้ง (กรณีบุคคลธรรมดา)
2. หนังสือรับรองการจดทะเบียน พร้อมสำเนารายละเอียดวัตถุประสงค์ และผู้มีอำนาจ ลงชื่อแทนนิติบุคคลที่ออกให้ไม่เกิน 180 วัน (กรณีนิติบุคคลเป็นผู้แจ้ง)
3. สำเนา โฉนดที่ดิน น.ส.3 น.ส.3ก ส.ค.1 หรือเอกสารสิทธิ์ในที่ดินอื่นๆ
4. สำเนาเอกสารแสดงว่าผู้แจ้งมีสิทธิ์ใช้ที่ดิน หรือหนังสือยินยอม ของเจ้าของที่ดิน หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบที่ดิน ให้ใช้เป็นที่ตั้งสถานที่ประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 2
5. สำเนาหรือหนังสืออนุญาต พร้อมด้วยสำเนาแผนผังบริเวณที่ได้รับอนุญาตให้ผู้ขออนุญาตทำทางเชื่อมระหว่างบริเวณที่ได้รับอนุญาต กับถนนสาธารณะ ทางหลวง เพื่อใช้เป็นทางสำหรับยานพาหนะ เข้า-ออก สถานที่บริเวณน้ำมันเชื้อเพลิง
6. แผนที่สังเขปแสดงสถานที่ประกอบกิจการ พร้อมทั้งแสดงสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ภายในรัศมี 50.00 เมตร จำนวน 3 ชุด
7. แผนผังบริเวณของสถานที่ประกอบกิจการ จำนวน 3 ชุด
8. แบบก่อสร้างถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิง เหมือนพื้นดินขนาดใหญ่พร้อมระบบท่อและอุปกรณ์ จำนวน 3 ชุด
9. รายการคำนวณ ความคงที่แข็งแรงของถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเหมือนพื้นดินขนาดใหญ่ จำนวน 1 ชุด
10. หนังสือรับรองจากวิศวกรสาขาที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นผู้คำนวณความมั่นคงแข็งแรง ระบบความปลอดภัย และระบบควบคุมมลพิษของถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเหมือนพื้นดินขนาดใหญ่ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ พร้อมทั้งแบบสำเนา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จำนวน 1 ชุด
ส่วนโยธา – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนโยธา มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการสำรวจออกแบบและจัดทำโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานของ อบต. เช่น งานอาคาร ถนน สะพาน ท่อระบายน้ำ และงานชลประทาน ตลอดจน งานบำรุงรักษา ซ่อมแซม และจัดทำทะเบียนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและการออกแบบก่อสร้างแก่ อบต. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยงข้อง งานควบคุมอาคาร การดูแลควบคุมปรึกษาซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
งานก่อสร้าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานควบคุมการก่อสร้าง สะพาน อาคาร และงานชลประทาน
- งานก่อสร้างและบูรณะถนน
- งานก่อสร้างและบูรณะสภาพและโครงการพิเศษ
- งานระบบข้อมูลและแผนที่เส้นทางคมนาคม
- งานบำรุงรักษาเครื่องจักรและยานพาหนะ
งานออกแบบและควบคุมอาคาร มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสำรวจออกแบบ
- งานสถาปัตยกรรมและมัณฑศิลป์
- งานวิศวกรรม
- งานประเมินราคา
- งานควบคุมการก่อสร้างอาคาร บริการข้อมูลและหลักเกณฑ์
- งานออกแบบ และเขียนแบบ
- งานควบคุมการก่อสร้างอาคารตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
- งานตรวจตราสถานประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง ตาม พ.ร.บ. ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2542
งานประสานและสาธารณูปโภค มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานซ่อมบำรุงไฟฟ้าสาธารณะ
- งานประสานและสาธารณูปโภคและกิจการประปา
- งานขนส่งและวิศวกรรมจราจร
- งานระบายน้ำ
- งานจัดตกแต่งสถานที่
งานผังเมือง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสำรวจรวบรวมข้อมูลด้านผังเมือง
- งานสำรวจและแผนที่
- งานวางผังพัฒนาเมือง
ส่วนโยธา - คู่มือ อบต.
ส่วนโยธา มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการสำรวจออกแบบและจัดทำโครงการใช้จ่ายเงินของ อบต. การอนุมัติเพื่อดำเนินการตาม โครงการที่ตั้งจ่ายจากเงินรายได้ของ อบต. งานบำรุงรักษา ซ่อมแซม และจัดทำทะเบียนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและการออกแบบก่อสร้างแก่ อบต. และหน่วงงานอื่นที่เกี่ยงข้อง งานควบคุมอาคาร การดูแลควบคุมปรึกษาซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและงานที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
ส่วนโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจออกแบบ การจัดทำข้อมูลทางด้านวิศวกรรม การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและ เขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้างและซ่อมบำรุง งานแผนงานด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกล รวบรวมประวัติติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงาน เครื่องจักรกล การควบคุมบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงานควบคุมเก็บรักษาการเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ำมันเชื้อเพลิง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย
การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ตามแบบคำขอ อนุญาตก่อสร้างอาคาร รื้อถอน ดัดแปลง (แบบ ข.1) พร้อมเอกสาร
2. นายตรวจ ตรวจสอบเอกสารเบื้องต้น / ตรวจสอบผังเมือง และตรวจสอบสภาพสาธารณะ
3. นายช่าง / วิศวกรตรวจพิจารณาแบบ
4. เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณา คำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขออนุญาต
2. สำเนาโฉนดที่ดินขนาดเท่าต้นฉบับทุกหน้า พร้อมเจ้าของที่ดินลงนามรับรองสำเนาทุกหน้า
(กรณีผู้ขอไม่ใช่เจ้าของต้องมีหนังสือยินยอมของเจ้าของที่ดินให้ก่อสร้าง อาคารในที่ดินหรือสำเนาสัญญาเช่าที่ดิน)
3. หนังสือยินยอมชิดเขตที่ดินต่างเจ้าของ
4. หนังสือรับรองของผู้ประกอบการวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของผู้ออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคาร
5. หนังสือรับรองของผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมของผู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรม
6. แผนผังบริเวณแบบแปลนและรายการประกอบแบบแปลน พร้อมรายการคำนวณโครงสร้าง
7. รายการคำนวณระบบบำบัดน้ำเสีย (กรณีอาคารต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย)
การประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2
เอกสารประกอบการแจ้ง
การแจ้งการประกอบกิจการ ให้แจ้งพร้อมเอกสาร หลักฐานต่างๆตามแบบ ธพ.น.1 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โดยแจ้งสำนักงานส่วนท้องถิ่นดังนี้
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้แจ้ง (กรณีบุคคลธรรมดา)
2. หนังสือรับรองการจดทะเบียน พร้อมสำเนารายละเอียดวัตถุประสงค์ และผู้มีอำนาจ ลงชื่อแทนนิติบุคคลที่ออกให้ไม่เกิน 180 วัน (กรณีนิติบุคคลเป็นผู้แจ้ง)
3. สำเนา โฉนดที่ดิน น.ส.3 น.ส.3ก ส.ค.1 หรือเอกสารสิทธิ์ในที่ดินอื่นๆ
4. สำเนาเอกสารแสดงว่าผู้แจ้งมีสิทธิ์ใช้ที่ดิน หรือหนังสือยินยอม ของเจ้าของที่ดิน หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบที่ดิน ให้ใช้เป็นที่ตั้งสถานที่ประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 2
5. สำเนาหรือหนังสืออนุญาต พร้อมด้วยสำเนาแผนผังบริเวณที่ได้รับอนุญาตให้ผู้ขออนุญาตทำทางเชื่อมระหว่างบริเวณที่ได้รับอนุญาต กับถนนสาธารณะ ทางหลวง เพื่อใช้เป็นทางสำหรับยานพาหนะ เข้า-ออก สถานที่บริเวณน้ำมันเชื้อเพลิง
6. แผนที่สังเขปแสดงสถานที่ประกอบกิจการ พร้อมทั้งแสดงสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ภายในรัศมี 50.00 เมตร จำนวน 3 ชุด
7. แผนผังบริเวณของสถานที่ประกอบกิจการ จำนวน 3 ชุด
8. แบบก่อสร้างถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิง เหมือนพื้นดินขนาดใหญ่พร้อมระบบท่อและอุปกรณ์ จำนวน 3 ชุด
9. รายการคำนวณ ความคงที่แข็งแรงของถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเหมือนพื้นดินขนาดใหญ่ จำนวน 1 ชุด
10. หนังสือรับรองจากวิศวกรสาขาที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นผู้คำนวณความมั่นคงแข็งแรง ระบบความปลอดภัย และระบบควบคุมมลพิษของถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเหมือนพื้นดินขนาดใหญ่ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ พร้อมทั้งแบบสำเนา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จำนวน 1 ชุด
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:
ส่วนโยธา – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนโยธา มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการสำรวจออกแบบและจัดทำโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานของ อบต. เช่น งานอาคาร ถนน สะพาน ท่อระบายน้ำ และงานชลประทาน ตลอดจน งานบำรุงรักษา ซ่อมแซม และจัดทำทะเบียนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและการออกแบบก่อสร้างแก่ อบต. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยงข้อง งานควบคุมอาคาร การดูแลควบคุมปรึกษาซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
งานก่อสร้าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานควบคุมการก่อสร้าง สะพาน อาคาร และงานชลประทาน
- งานก่อสร้างและบูรณะถนน
- งานก่อสร้างและบูรณะสภาพและโครงการพิเศษ
- งานระบบข้อมูลและแผนที่เส้นทางคมนาคม
- งานบำรุงรักษาเครื่องจักรและยานพาหนะ
งานออกแบบและควบคุมอาคาร มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสำรวจออกแบบ
- งานสถาปัตยกรรมและมัณฑศิลป์
- งานวิศวกรรม
- งานประเมินราคา
- งานควบคุมการก่อสร้างอาคาร บริการข้อมูลและหลักเกณฑ์
- งานออกแบบ และเขียนแบบ
- งานควบคุมการก่อสร้างอาคารตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
- งานตรวจตราสถานประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง ตาม พ.ร.บ. ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2542
งานประสานและสาธารณูปโภค มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานซ่อมบำรุงไฟฟ้าสาธารณะ
- งานประสานและสาธารณูปโภคและกิจการประปา
- งานขนส่งและวิศวกรรมจราจร
- งานระบายน้ำ
- งานจัดตกแต่งสถานที่
งานผังเมือง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ
- งานสำรวจรวบรวมข้อมูลด้านผังเมือง
- งานสำรวจและแผนที่
- งานวางผังพัฒนาเมือง
ส่วนโยธา - คู่มือ อบต.
ส่วนโยธา มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการสำรวจออกแบบและจัดทำโครงการใช้จ่ายเงินของ อบต. การอนุมัติเพื่อดำเนินการตาม โครงการที่ตั้งจ่ายจากเงินรายได้ของ อบต. งานบำรุงรักษา ซ่อมแซม และจัดทำทะเบียนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและการออกแบบก่อสร้างแก่ อบต. และหน่วงงานอื่นที่เกี่ยงข้อง งานควบคุมอาคาร การดูแลควบคุมปรึกษาซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและงานที่ได้รับมอบหมาย แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ
ส่วนโยธา มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจออกแบบ การจัดทำข้อมูลทางด้านวิศวกรรม การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและ เขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้างและซ่อมบำรุง งานแผนงานด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกล รวบรวมประวัติติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงาน เครื่องจักรกล การควบคุมบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงานควบคุมเก็บรักษาการเบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ำมันเชื้อเพลิง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย
การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
ขั้นตอนการให้บริการ
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ตามแบบคำขอ อนุญาตก่อสร้างอาคาร รื้อถอน ดัดแปลง (แบบ ข.1) พร้อมเอกสาร
2. นายตรวจ ตรวจสอบเอกสารเบื้องต้น / ตรวจสอบผังเมือง และตรวจสอบสภาพสาธารณะ
3. นายช่าง / วิศวกรตรวจพิจารณาแบบ
4. เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณา คำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
เอกสารประกอบการพิจารณา
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขออนุญาต
2. สำเนาโฉนดที่ดินขนาดเท่าต้นฉบับทุกหน้า พร้อมเจ้าของที่ดินลงนามรับรองสำเนาทุกหน้า
(กรณีผู้ขอไม่ใช่เจ้าของต้องมีหนังสือยินยอมของเจ้าของที่ดินให้ก่อสร้าง อาคารในที่ดินหรือสำเนาสัญญาเช่าที่ดิน)
3. หนังสือยินยอมชิดเขตที่ดินต่างเจ้าของ
4. หนังสือรับรองของผู้ประกอบการวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของผู้ออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคาร
5. หนังสือรับรองของผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมของผู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรม
6. แผนผังบริเวณแบบแปลนและรายการประกอบแบบแปลน พร้อมรายการคำนวณโครงสร้าง
7. รายการคำนวณระบบบำบัดน้ำเสีย (กรณีอาคารต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย)
การประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2
เอกสารประกอบการแจ้ง
การแจ้งการประกอบกิจการ ให้แจ้งพร้อมเอกสาร หลักฐานต่างๆตามแบบ ธพ.น.1 ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โดยแจ้งสำนักงานส่วนท้องถิ่นดังนี้
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้แจ้ง (กรณีบุคคลธรรมดา)
2. หนังสือรับรองการจดทะเบียน พร้อมสำเนารายละเอียดวัตถุประสงค์ และผู้มีอำนาจ ลงชื่อแทนนิติบุคคลที่ออกให้ไม่เกิน 180 วัน (กรณีนิติบุคคลเป็นผู้แจ้ง)
3. สำเนา โฉนดที่ดิน น.ส.3 น.ส.3ก ส.ค.1 หรือเอกสารสิทธิ์ในที่ดินอื่นๆ
4. สำเนาเอกสารแสดงว่าผู้แจ้งมีสิทธิ์ใช้ที่ดิน หรือหนังสือยินยอม ของเจ้าของที่ดิน หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบที่ดิน ให้ใช้เป็นที่ตั้งสถานที่ประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 2
5. สำเนาหรือหนังสืออนุญาต พร้อมด้วยสำเนาแผนผังบริเวณที่ได้รับอนุญาตให้ผู้ขออนุญาตทำทางเชื่อมระหว่างบริเวณที่ได้รับอนุญาต กับถนนสาธารณะ ทางหลวง เพื่อใช้เป็นทางสำหรับยานพาหนะ เข้า-ออก สถานที่บริเวณน้ำมันเชื้อเพลิง
6. แผนที่สังเขปแสดงสถานที่ประกอบกิจการ พร้อมทั้งแสดงสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ภายในรัศมี 50.00 เมตร จำนวน 3 ชุด
7. แผนผังบริเวณของสถานที่ประกอบกิจการ จำนวน 3 ชุด
8. แบบก่อสร้างถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิง เหมือนพื้นดินขนาดใหญ่พร้อมระบบท่อและอุปกรณ์ จำนวน 3 ชุด
9. รายการคำนวณ ความคงที่แข็งแรงของถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเหมือนพื้นดินขนาดใหญ่ จำนวน 1 ชุด
10. หนังสือรับรองจากวิศวกรสาขาที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นผู้คำนวณความมั่นคงแข็งแรง ระบบความปลอดภัย และระบบควบคุมมลพิษของถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงเหมือนพื้นดินขนาดใหญ่ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ พร้อมทั้งแบบสำเนา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จำนวน 1 ชุด
../add_file/
ส่วนโยธา – ข้อมูลสำหรับประชาชน
ส่วนโยธา มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการสำรวจออกแบบและจัดทำโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานของ อบต. เช่น งานอาคาร ถนน สะพาน ท่อระบายน้ำ และงานชลประทาน ตลอดจน งานบำรุงรักษา ซ่อมแซม และจัดทำทะเบียนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำโครงการและการออกแบบก่อสร้างแก่ อบต. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยงข้อง งานควบคุมอาคาร การดูแลควบคุมปรึกษาซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น 4 งาน คือ